การทดสอบความสามารถ

Ability Testing

การทดสอบความรู้

การทดสอบวัดความรู้ทางการอ่านภาษาอังกฤษ เป็นการทดสอบวัดความรู้ในคุณลักษณะพื้นฐานที่จำเป็นต้องใช้สำหรับการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในภาพรวมของผู้สอบ

          The Ability Testing : The test of basic english ability skill of reading for english undergraduate students.

การทดสอบคุณลักษณะ

Diagnostic Testing

การทดสอบวินิจฉัย

การทดสอบวินิจฉัย เป็นการทดสอบวินิจฉัยคุณลักษณะพื้นฐานที่จำเป็นต้องใช้สำหรับการอ่านภาษาอังกฤษในแต่ละคุณลักษณะของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ตามลำดับขั้นของเนื้อหาโดยใช้โมเดลลำดับขั้นคุณลักษณะกำหนดลำดับขั้นของเนื้อหาแต่ละทักษะที่ทำการทดสอบ

          The Diagnostic Testing : with cognitive diagnostic analysis, this testing analyze the mastery in english basic skills of reading for undergraduate students. The attributes hierarchy model is used to determine the sequence of the contents in each skills test.

รายงานผลสอบ

Check Report

การตรวจสอบผลการทดสอบ

ส่วนรายงานผลการสอบ เป็นส่วนที่แสดงผลการสอบของผู้สอบ ซึ่งเป็นตรวจสอบผลการสอบโดยใช้รหัสนักศึกษา

          The reported results. This is the result of the examination. The results of examination by using a student Code.

Computerized Adaptive Testing (CAT)

          Computerized adaptive testing is intended to be carried out by selecting the appropriate item (Tailoring) the ability of each person with computer Based on Item Response Theory (Item Response Theory: IRT) is used as the basis for calculation of test information. The qualifying exam will be given useful information about the ability of each person to be tested effectively. The number of tests less Time of the test results obtained with low tolerances. The result can be compared in a meaningful way.

การทดสอบแบบปรับเหมาะ
ตามระดับความสามารถด้วยคอมพิวเตอร์

          การทดสอบแบบปรับเหมาะด้วยคอมพิวเตอร์ (Computerized Adaptive Testing : CAT) มีเป้าหมายที่จะดำเนินการสอบด้วยการคัดเลือกข้อสอบให้เหมาะสม (Tailoring) กับความสามารถของผู้สอบแต่ละคนด้วยคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ (Item Response Theory: IRT) มาใช้เป็นพื้นฐานในการคำนวณค่าสารสนเทศของข้อสอบ ซึ่งจะมีการคัดเลือกข้อสอบที่ให้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์กับความสามารถของผู้สอบ แต่ละคน ทำให้การทดสอบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้จำนวนข้อสอบที่น้อยลง ประหยัดเวลาของการสอบ ผลที่ได้  มีความคลาดเคลื่อนต่ำ และสามารถนำผลมาเปรียบเทียบกันได้อย่างมีความหมาย